Mastering Elliott Wave: Ultimate Guide!

หมดปัญหา 'อ่านหนังสือเองแล้วไม่เข้าใจ' เพราะคอร์สนี้จะเปรียบเสมือนไกด์นำทางให้คุณเข้าใจหลักการและภาพรวมของหนังสือ Mastering Elliott Wave by Glenn Neely ได้อย่างรวดเร็วและง่ายมาก!

Skip to product information
1 of 1

Mastering Elliott Wave: Ultimate Guide

Mastering Elliott Wave: Ultimate Guide

Regular price 5,500.00 ฿ THB
Regular price Sale price 5,500.00 ฿ THB
Sale Sold out
Shipping calculated at checkout.

คอร์สนี้ประกอบไปด้วยคลิปวิดีโอมากกว่า 100+ คลิปที่จะสอนหลักการภายในทฤษฎี NEoWave(Mastering Elliott Wave) อย่างเข้มข้น ในฉบับที่ละเอียดมากในทุกๆแง่มุม รวมทั้งมีการอธิบายโดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย!

สถานะ: เปิดรับสมัครตลอด

View full details

คอร์สนี้ต่างจากคอร์ส 20,000 อย่างไร?

คอร์สนี้จะสอนทฤษฎีดั้งเดิมผ่านตำรา Mastering Elliott Wave by Glenn Neely 100% โดยจะไม่มีการปนหลักการประยุกต์ใดๆลงไปทั้งสิ้น เหมาะกับคนที่อยากศึกษาตำราหลักแล้วนำไปประยุกต์ใช้เอง (ดูคอร์สประยุกต์)

  • ความละเอียดและครบถ้วน

    ทางเราจะสอนทฤษฎีคลื่นตามฉบับดั้งเดิมของ NEoWave ตามหนังสือ Mastering Elliott Wave, ทุกบท ทุกหน้า ทุกประโยค อย่างละเอียด

  • ถูกต้องตามทฤษฎี

    เราจะไม่ได้ผสมความคิดของ ewr และการประยุกต์ใดๆเข้าไปด้วย เพื่อคงความถูกต้องตามทฤษฎีดั้งเดิม ผู้เรียนสามารถมั่นใจได้ว่า ผู้เรียนจะได้เรียนตามตำรา 100% อย่างแน่นอน

  • เข้าใจได้ง่าย

    เนื่องจากทฤษฎีดั้งเดิมมีความยากอยู่แล้ว ทาง ewr จึงออกแบบวิธีการสอนที่เรียบง่ายขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจง่ายมากกว่าเดิม และเข้าใจทฤษฎีได้เร็วมากยิ่งขึ้น

รายละเอียดเนื้อหาอย่างละเอียด

รายละเอียดเนื้อหา

บทที่ 1 ปฐมบทฤษฎีคลื่น

บทที่ 1 (รวม 12 ตอน)
EP.1 (บทที่ 1 ตอนที่ 1): ทฤษฎีคลื่น Elliott wave คืออะไร?
EP.2 (บทที่ 1 ตอนที่ 2): ทำไมเราถึงต้องเรียนทฤษฎีคลื่น Elliott wave?
EP.3 (บทที่ 1 ตอนที่ 3): ทำไมถึงมีข้อโต้แย้งเกี่ยวกับทฤษฎี Elliott wave มากมาย?
EP.4 (บทที่ 1 ตอนที่ 4): ทำไมหนังสือ Mastering Elliott Wave อาจจะทำให้เกิดข้อโต้แย้งเพิ่มมากขึ้น?
EP.5 (บทที่ 1 ตอนที่ 5): อะไรที่ทำให้ทฤษฎีคลื่น Elliott wave มันแตกต่าง?
EP.6 (บทที่ 1 ตอนที่ 6): เราจะเริ่มเรียนทฤษฎีคลื่น Elliott wave ยังไงดี?
EP.7 (บทที่ 1 ตอนที่ 7): ทำไมต้องมีหนังสือ Mastering Elliott Wave by Glenn Neely?
EP.8 (บทที่ 1 ตอนที่ 8): การค้นพบใหม่ๆของ Glenn Neely
EP.9 (บทที่ 1 ตอนที่ 9): Glenn Neely คิดค้นแนวคิดใหม่ๆได้อย่างไร?
EP.10 (บทที่ 1 ตอนที่ 10): ทฤษฎี Elliott wave จะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ที่ไหนบ้าง?
EP.11 (บทที่ 1 ตอนที่ 11): เราควรจะใช้ทฤษฎีคลื่น Elliott wave อย่างไรดี?
EP.12 (บทที่ 1 ตอนที่ 12): ถัดไปจากบทที่ 1 นี้ เราจะได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้าง?

บทที่ 2 แนวคิดขั้นพื้นฐาน

บทที่ 2 (รวม 9 ตอน)
(เริ่มนับต่อจากบทที่ 1 จบที่ EP.12 → บทที่ 2 จะเริ่มที่ EP.13)
EP.13 (บทที่ 2 ตอนที่ 1): 'คลื่น' มันคืออะไร?
EP.14 (บทที่ 2 ตอนที่ 2): ทำไม 'คลื่น' ถึงเกิดขึ้นมา?
EP.15 (บทที่ 2 ตอนที่ 3): ทำไม 'คลื่น' ถึงสำคัญ?
EP.16 (บทที่ 2 ตอนที่ 4): เราจะแยกประเภทของ 'คลื่น' ได้อย่างไร?
EP.17 (บทที่ 2 ตอนที่ 5): เราจะลงสัญลักษณ์ 'กำกับคลื่น' ได้อย่างไรบ้าง?
EP.18 (บทที่ 2 ตอนที่ 6): ข้อมูลชนิดใดที่ควรนำมาวิเคราะห์ด้วยทฤษฎี Elliott wave?
EP.19 (บทที่ 2 ตอนที่ 7): คุณควรจะพล็อตกราฟอย่างไร?
EP.20 (บทที่ 2 ตอนที่ 8): 'คลื่น' สามารถมีความซับซ้อนได้มากแค่ไหน?
EP.21 (บทที่ 2 ตอนที่ 9): ความรู้เหล่านี้จะสามารถนำไปใช้ได้อย่างไร?

บทที่ 3 การวิเคราะห์ขั้นพื้นฐาน

บทที่ 3 (รวม 13 ตอน)
(บทที่ 2 จบที่ EP.21 → บทที่ 3 จะเริ่มที่ EP.22)
EP.22 (บทที่ 3 ตอนที่ 1): วิธีการเตรียมกราฟและเตรียมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์
EP.23 (บทที่ 3 ตอนที่ 2): การกำหนด Monowave แบบเบื้องต้น
EP.24 (บทที่ 3 ตอนที่ 3): กฎแห่งสัดส่วน (Rule of Proportion)
EP.25 (บทที่ 3 ตอนที่ 4): กฎของความเป็นกลางของราคา (Rule of Neutrality)
EP.26 (บทที่ 3 ตอนที่ 5): กำหนดลำดับ Monowave (Chronology)
EP.27 (บทที่ 3 ตอนที่ 6): กฎในการสังเกตการณ์ลำดับคลื่นที่สัมพันธ์กัน (Rule of Observation)
EP.28 (บทที่ 3 ตอนที่ 7): กฎการย้อนกลับ (Retracement Rule)
EP.29 (บทที่ 3 ตอนที่ 8): กฎตรรกะก่อนการฟอร์มตัว (Pre-Constructive Rules of Logic)
EP.30 (บทที่ 3 ตอนที่ 9): การประยุกต์ใช้ตัวบ่งชี้ตำแหน่ง (Position Indicator Implementations)
EP.31 (บทที่ 3 ตอนที่ 10): คำจำกัดความของตัวบ่งชี้ตำแหน่ง (Position Indicator Definitions)
EP.32 (บทที่ 3 ตอนที่ 11): กระบวนการในการแยกรูปแบบ
EP.33 (บทที่ 3 ตอนที่ 12): สถานการณ์พิเศษ
EP.34 (บทที่ 3 ตอนที่ 13): บทสรุปของบทที่ 3: Prelimary Analysis/การวิเคราะห์ขั้นพื้นฐาน

บทที่ 4 การวิเคราะห์ขั้นกลาง

บทที่ 4 (รวม 5 ตอน)
(บทที่ 3 จบที่ EP.34 → บทที่ 4 จะเริ่มที่ EP.35)
EP.35 (บทที่ 4 ตอนที่ 1): กลุ่มคลื่น Monowave
EP.36 (บทที่ 4 ตอนที่ 2): กฎของความคล้ายคลึงและสมดุล (Rule of Similarity and Balanced)
EP.37 (บทที่ 4 ตอนที่ 3): ประโยชน์ของการระบุชุดโครงสร้าง (Identified Structure Series)
EP.38 (บทที่ 4 ตอนที่ 4): การตรวจสอบ Zigzag แบบ 'ทางอ้อม'
EP.39 (บทที่ 4 ตอนที่ 5): เนื้อหาถัดไปจากบทที่ 4 จะมีอะไรบ้าง?

บทที่ 5 ศูนย์กลางในการพิจารณา

บทที่ 5 (รวม 23 ตอน)
(บทที่ 4 จบที่ EP.39 → บทที่ 5 จะเริ่มที่ EP.40)
EP.40 (บทที่ 5 ตอนที่ 1): โครงสร้างของ Polywave
EP.41 (บทที่ 5 ตอนที่ 2): สิ่งที่เราจะเรียนรู้ในบทที่ 5
EP.42 (บทที่ 5 ตอนที่ 3): กฎโครงสร้างสำคัญของ Impulsion (Essential Construction Rule: Impulsion)
EP.43 (บทที่ 5 ตอนที่ 4): กฎคลื่นขยาย (Extension Rule)
EP.44 (บทที่ 5 ตอนที่ 5): กฎเงื่อนไขโครงสร้าง (Conditional Construction Rules: Impulsion)
EP.45 (บทที่ 5 ตอนที่ 6): กฎการสลับ (Rule of Alternation)
EP.46 (บทที่ 5 ตอนที่ 7): กฎความสมมาตร (Rule of Equality)
EP.47 (บทที่ 5 ตอนที่ 8): กฎความเหลื่อมล้ำ (Overlap Rule)
EP.48 (บทที่ 5 ตอนที่ 9): ทบทวน (Review)
EP.49 (บทที่ 5 ตอนที่ 10): จุดแตกหัก-Breaking Points ของ Impulsions
EP.50 (บทที่ 5 ตอนที่ 11): การพาดเทรนด์ไลน์ของ Impulsion (Channeling)
EP.51 (บทที่ 5 ตอนที่ 12): สัดส่วนความสัมพันธ์ทางฟิโบนัคชี (Fibonacci Relationships) ของ Impulsion
EP.52 (บทที่ 5 ตอนที่ 13): ระดับดีกรีของ Impulsions
EP.53 (บทที่ 5 ตอนที่ 14): รูปแบบ Corrections
EP.54 (บทที่ 5 ตอนที่ 15): กฎโครงสร้างสำคัญของ Corrections (Essential Construction Rule: Corrections)
EP.55 (บทที่ 5 ตอนที่ 16): โครงสร้างรูปแบบ Flat (3-3-5)
EP.56 (บทที่ 5 ตอนที่ 17): โครงสร้างรูปแบบ Zigzag (5-3-5)
EP.57 (บทที่ 5 ตอนที่ 18): โครงสร้างรูปแบบ Triangle (3-3-3-3-3)
EP.58 (บทที่ 5 ตอนที่ 19): กฎเงื่อนไขโครงสร้าง (Conditional Construction Rules: Corrections)
EP.59 (บทที่ 5 ตอนที่ 20): จุดแตกหัก-Breaking Points ของ Corrections
EP.60 (บทที่ 5 ตอนที่ 21): การพาดเทรนด์ไลน์ของ Corrections (Channeling)
EP.61 (บทที่ 5 ตอนที่ 22): สัดส่วนความสัมพันธ์ทางฟิโบนัคชี (Fibonacci Relationships) ของ Corrections
EP.62 (บทที่ 5 ตอนที่ 23): ระดับดีกรีของ Corrections

บทที่ 6 กฎตรรกะโครงสร้างขั้นสูง

บทที่ 6 (รวม 3 ตอน)
(บทที่ 5 จบที่ EP.62 → บทที่ 6 จะเริ่มที่ EP.63)
EP.63 (บทที่ 6 ตอนที่ 1): เกริ่นนำ กฎตรรกะโครงสร้างหลังรูปแบบจบ (Post-Constructive Rules of Logic)
EP.64 (บทที่ 6 ตอนที่ 2): กฎตรรกะโครงสร้างหลังรูปแบบจบ (Impulsions)
EP.65 (บทที่ 6 ตอนที่ 3): กฎตรรกะโครงสร้างหลังรูปแบบจบ (Corrections)

บทที่ 7 บทสรุปกระบวนการวิเคราะห์

บทที่ 7 (รวม 6 ตอน)
(บทที่ 6 จบที่ EP.65 → บทที่ 7 จะเริ่มที่ EP.66)
EP.66 (บทที่ 7 ตอนที่ 1): เกริ่นนำบทที่ 7 - บทสรุปกระบวนการวิเคราะห์ (Conclusion)
EP.67 (บทที่ 7 ตอนที่ 2): กระบวนการบีบอัด (Compaction Procedures)
EP.68 (บทที่ 7 ตอนที่ 3): กฎความซับซ้อน (Complexity Rule)
EP.69 (บทที่ 7 ตอนที่ 4): เนื้อหาเรื่องดีกรีคลื่นแบบละเอียด (More On Degree)
EP.70 (บทที่ 7 ตอนที่ 5): 'คลื่น' คืออะไร? - อธิบายเพิ่มเติม
EP.71 (บทที่ 7 ตอนที่ 6): แผนผังการวิเคราะห์ในฉบับของ Glenn Neely (1990)

บทที่ 8 โครงสร้างที่ซับซ้อนของ คลื่นโพลี, คลื่นมัลติ และอื่นๆ

บทที่ 8 (รวม 8 ตอน)
(บทที่ 7 จบที่ EP.71 → บทที่ 8 จะเริ่มที่ EP.72)
EP.72 (บทที่ 8 ตอนที่ 1): โครงสร้างของ Polywave แบบซับซ้อน
EP.73 (บทที่ 8 ตอนที่ 2): โครงสร้างของ Multiwave
EP.74 (บทที่ 8 ตอนที่ 3): โครงสร้างของ Multiwave แบบซับซ้อน
EP.75 (บทที่ 8 ตอนที่ 4): โครงสร้างของ Macrowave
EP.76 (บทที่ 8 ตอนที่ 5): กฎการสลับ - เพิ่มเติม
EP.77 (บทที่ 8 ตอนที่ 6): กฎคลื่นขยาย - เพิ่มเติม
EP.78 (บทที่ 8 ตอนที่ 7): ความสำคัญของการรู้ว่าคลื่นใดขยาย
EP.79 (บทที่ 8 ตอนที่ 8): เรียนรู้วิธีการเริ่มต้นนับคลื่น

บทที่ 9 เทคนิคขั้นพื้นฐาน

บทที่ 9 (รวม 8 ตอน)
(บทที่ 8 จบที่ EP.79 → บทที่ 9 จะเริ่มที่ EP.80)
EP.80 (บทที่ 9 ตอนที่ 1): จุดแตะเทรนด์ไลน์ (Trendline touchpoints)
EP.81 (บทที่ 9 ตอนที่ 2): กฎด้านเวลา (Time Rule)
EP.82 (บทที่ 9 ตอนที่ 3): กฎอิสระ (Independent Rule)
EP.83 (บทที่ 9 ตอนที่ 4): การเกิดขึ้นพร้อมกัน (Simultaneous Occurence)
EP.84 (บทที่ 9 ตอนที่ 5): กฎข้อยกเว้น (Exception Rule)
EP.85 (บทที่ 9 ตอนที่ 6): ความจำเป็นในการรักษาความสมบูรณ์ของโครงสร้าง (Necessity of Maintaining "Structure" Integrity)
EP.86 (บทที่ 9 ตอนที่ 7): การล็อกโครงสร้าง (Locking in Structure)
EP.87 (บทที่ 9 ตอนที่ 8): ความยืดหยุ่นของสัญลักษณ์กำกับโครงสร้างขั้นสูง (Flexibility of Progress Label)

บทที่ 10 กฎตรรกะขั้นสูง

บทที่ 10 (รวม 5 ตอน)
(บทที่ 9 จบที่ EP.87 → บทที่ 10 จะเริ่มที่ EP.88)
EP.88 (บทที่ 10 ตอนที่ 1): นัยของรูปแบบต่างๆในทฤษฎี Elliott wave
EP.89 (บทที่ 10 ตอนที่ 2): การย้อนกลับที่ขึ้นอยู่กับค่าพลัง (Power Ratings)
EP.90 (บทที่ 10 ตอนที่ 3): ค่าพลัง - Corrections ทุกประเภท ยกเว้นสามเหลี่ยม
EP.91 (บทที่ 10 ตอนที่ 4): ค่าพลัง - Triangle
EP.92 (บทที่ 10 ตอนที่ 5): ค่าพลัง - Impulsions

บทที่ 11 กฎโครงสร้างคลื่นขั้นสูง

บทที่ 11 (รวม 5 ตอน)
(บทที่ 10 จบที่ EP.92 → บทที่ 11 จะเริ่มที่ EP.93)
EP.93 (บทที่ 11 ตอนที่ 1): กฎโครงสร้างขั้นสูง - เกริ่นนำ
EP.94 (บทที่ 11 ตอนที่ 2): กฎโครงสร้างคลื่นขั้นสูง - Impulsions (Trending & Terminal)
EP.95 (บทที่ 11 ตอนที่ 3): กฎโครงสร้างคลื่นขั้นสูง - Flat Corrections
EP.96 (บทที่ 11 ตอนที่ 4): กฎโครงสร้างคลื่นขั้นสูง - Zigzag Corrections
EP.97 (บทที่ 11 ตอนที่ 5): กฎโครงสร้างคลื่นขั้นสูง - Triangle Corrections

บทที่ 12 เทคนิคคลื่นขั้นสูง

บทที่ 12 (รวม 10 ตอน)
(บทที่ 11 จบที่ EP.97 → บทที่ 12 จะเริ่มที่ EP.98)
EP.98 (บทที่ 12 ตอนที่ 1): เทคนิคคลื่นขั้นสูง: การพาดเทรนด์ไลน์ (Channeling)
EP.99 (บทที่ 12 ตอนที่ 2): การตรวจสอบ Impulsions ด้วยการพาดเทรนด์ไลน์
EP.100 (บทที่ 12 ตอนที่ 3): การตรวจสอบ Corrections ด้วยการพาดเทรนด์ไลน์
EP.101 (บทที่ 12 ตอนที่ 4): การหาจุดสิ้นสุดของคลื่น
EP.102 (บทที่ 12 ตอนที่ 5): สัดส่วนฟิโบนัคชีขั้นสูง Internal
EP.103 (บทที่ 12 ตอนที่ 6): สัดส่วนฟิโบนัคชีขั้นสูง External
EP.104 (บทที่ 12 ตอนที่ 7): 'คลื่น' ที่หายไป - Missing Wave
EP.105 (บทที่ 12 ตอนที่ 8): การลอกเลียนแบบโครงสร้างคลื่น - Emulation
EP.106 (บทที่ 12 ตอนที่ 9): ความน่าจะเป็นที่เพิ่มมากขึ้น - Expansion of Possibilities
EP.107 (บทที่ 12 ตอนที่ 10): การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างดั้งเดิม - Localized Progress Label Changes

เวลารวมทั้งหมดประมาณ: 14 ชั่วโมง 51 นาที

⭐สิทธิพิเศษสำหรับผู้เรียน

  1. ผู้เรียนจะได้เข้ากลุ่ม Line Open Chat เพื่อพูดคุยกับเพื่อนๆในกลุ่มและแอดมิน
  2. ผู้เรียนสามารถทักถามส่วนตัวกับแอดมินได้ มีคำถามตรงไหน สามารถสอบถามได้ตลอด
  3. ผู้เรียนจะได้รับการซัพพอร์ตจากแอดมินตลอดชีวิต
  4. หากคอร์สมีการอัพเดตผู้เรียนจะได้รับการอัพเดตฟรีๆไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม

+ผู้เรียนจะรับเอกสารประกอบการเรียน Mastering Elliott Wave เพื่อใช้ในการศึกษาทฤษฎีด้วย (ดูตัวอย่าง)

วิธีการสมัครคอร์สเรียน

  1. ติดต่อแอดมินเรื่องสมัครคอร์สเรียนใน Inbox เพจ
  2. โอนเงิน และส่งสลิปให้แอดมินเพื่อเป็นหลักฐานการยืนยัน
  3. แอดมินจะส่งรหัสนักเรียน เพื่อเข้ากลุ่มแชทนักเรียน
  4. เมื่อเข้ากลุ่มเสร็จ สามารถเริ่มเรียนผ่าน Playlist ใน Youtube ได้ทันที!

👍คอร์สนี้เหมาะกับใคร

- เหมาะกับผู้ต้องการเริ่มต้นศึกษาทฤษฎี NEoWave ผ่านหนังสือ Mastering Elliott Wave โดยไม่ต้องอ่านเองและทำความเข้าใจเอง
- เหมาะ 'อย่างยิ่ง!' กับผู้ที่เคยอ่านหนังสือ Mastering Elliott Wave แล้วท้อแท้ เพราะยากเกินไปและไม่สามารถทำความเข้าใจได้

👎คอร์สนี้ไม่เหมาะกับใคร

- ไม่เหมาะกับผู้ที่เพิ่งเริ่มต้นศึกษาทฤษฎีคลื่น เช่น รู้จักและดู Elliott Wave ผ่านๆตามาเท่านั้น ไม่ได้มีการลงไปศึกษาอย่างจริงจัง
- ไม่เหมาะ 'อย่างยิ่ง!' กับผู้ที่ไม่มีความรู้อะไรเลยเกี่ยวกับการวิเคราะห์ด้วยกราฟเทคนิค (อย่างน้อยต้องรู้จัก Dow Theory)

คำถามที่พบบ่อย

การเรียนการสอนเป็นอย่างไร

ผู้เรียนจะได้เรียนผ่าน Youtube Playlist สำหรับนักเรียนที่ซื้อคอร์ส ผู้เรียนดูคลิปแล้ว สามารถสอบถามผู้สอนได้ตลอดเวลาหากมีคำถาม

มีเอกสารการเรียนประกอบหรือไม่

เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจอย่างมากที่สุด ทางเราเตรียมเอกสารประกอบการเรียนที่ออกแบบมาเพื่อคอร์สนี้โดยเฉพาะ โดยครอบคลุมทุกเนื้อหาของ Mastering Elliott Wave by Glenn Neely

สามารถขอคืนเงินได้หรือไม่

เรามั่นใจว่าทุกอย่างในคอร์สนี้ได้เตรียมไว้อย่างเพรียบพร้อม และถึงแม้หากมีบางอย่างขาดหายไป ผู้เรียนสามารถ สอบถามแอดมินได้ตลอดเวลา ทุกคำถาม ตลอดชีวิตจนผู้เรียนจะเข้าใจ และสามารถทำกำไรได้

หากลงคอร์สเรียนนี้แล้ว ทางเราจะไม่มีการคืนเงินใดๆทั้งสิ้น และการันตีว่า หากผู้เรียนตั้งใจ และอุทิศให้กับการเรียนอย่างจริงจัง ทางเราก็พร้อมที่จะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จ

ผ่อนจ่ายได้หรือไม่

ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องจ่ายเงินจำนวนเต็ม แต่สามารถผ่อนผ่านบัตรเครดิตได้

โดยผู้เรียนจะชำระเงินผ่าน Meta Pay และผู้เรียนก็ต้องดูว่า ธนาคารที่ผู้เรียนใช้ มีโปรโมชั่นใดๆ ในการผ่อนบ้าง

ระบบการเรียนการสอน

เรียนผ่านคลิปวิดิโอ

ผู้เรียนจะได้เรียนผ่านคลิปวิดิโอ บทแพลตฟอร์ม Youtube โดยหลังจากสมัครเรียนแล้ว ผู้สอนจะส่งลิงค์ Playlist สำหรับดูวิดิโอการเรียนการสอนให้ทันที

ระบบการพูดคุยกับผู้สอน

สอบถามผ่านทางแชท

เนื่องจากการเรียนการสอนไม่ได้เป็นการสอนสดๆ ทำให้อาจมีข้อสงสัยเพิ่มเติม ทางเราชดเชยจุดด้อยนี้ด้วยการที่ผู้เรียนสามารถสอบถามทุกอย่างเกี่ยวกับทฤษฎีคลื่นได้ หากไม่เข้าใจเนื้อหา

ตัวอย่างการสอน

เวอร์ชั่นของคอร์ส

Course Version

เวอร์ชั่น 1.0.1 (กำลังมาเร็วๆนี้)

อัพเดต:

  • เพิ่ม Time Stamp ให้กับ Video ทั้ง 107 Video

เวอร์ชั่น 1.0.0 (เผยแพร่ 9-มีนาคม-67 จนถึง ปัจจุบัน)

- อธิบายทุกหลักการในตำราอย่างละเอียด
- วิดีโอรวม 107 คลิป ความยาว 14 ชั่วโมง 51 นาที ครอบคลุมทุกบท ทุกหัวข้อในตำรา
- ตำรา Mastering Elliott Wave ฉบับภาษาไทย แปลโดย EWR เอง
- ลดความซับซ้อนของเนื้อหา ปรับโครงสร้างการอธิบายให้เข้าใจง่ายขึ้นสำหรับมือใหม่
- ทำลายกำแพงภาษา ให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ระดับสูงของ NEoWave ได้ง่ายขึ้น
- คอร์สที่คุ้มค่าที่สุด ทั้งด้านคุณภาพ เนื้อหา และราคาที่ถูกกว่าการศึกษาด้วยตัวเอง